หนังสือเรียนจีนกลางฉบับสมบูรณ์
หนังสือเรียนจีนกลางฉบับสมบูรณ์
ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน รวมไวยากรณ์ คำศัพท์ และบทสนทนาพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน Completed Chinese Tutlrials
แถม! เพลงบรรเลงเปียโน Mozart 10 เพลง และ เพลงดนตรีบำบัด 14 เพลง (แถมฟรี 2 แผ่น มูลค่า 400 บาท)
* โปรโมชั่นราคานี้ จะเป็นราคาที่รวมของแถมมูลค่า 400 แล้ว
ข้อควรระวัง: เพื่อเป็นการป้องกันการสั่งซื้อสินค้าซ้ำซ้อน กรุณาอ่านรายละเอียด ของสื่อการสอนชุดนี้ก่อนทำการสั่งซื้อ เนื่องจากสื่อการสอนชุดนี้ เป็นการรวมหลายๆ สื่อการสอนที่เกี่ยวข้องเอาไว้เป็นกล่องเดียวกันในราคาพิเศษ!!!
ราคาพิเศษ 850 บาท (ปกติ 999 บาท ประหยัด 149 บาท)
รวมไวยากรณ์ คำศัพท์ และบทสนทนาพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อพัฒนาทักษะการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน ให้สามารถนำทักษะไปใช้ได้อย่างมั่นใจและถูกต้อง พร้อมฝึกออกเสียงจากเจ้าของภาษา
ภายในชุดประกอบด้วย:
1.เรียนภาษาจีนกลางง่ายนิดเดียว เล่ม1 (หนังสือ 1 เล่ม + 3 VideoCD)
บทที่ 1
• การทักทาย
• ประโยคบอกเล่าและประโยคคำถาม
• การตั้งคำถามด้วย (ma "ไหม")
• การใช้ (ye "ก็")
• วรรณยุกต์และการเปลี่ยนเสียง
บทที่ 2
• การไถ่ถามทุกข์สุข
• การใช้ (ne "หล่ะ")
• การใช้ (bu "ไม่")
• พยัญชนะและสระในภาษาจีน
บทที่ 3
• คำที่ใช้ในประโยคคำถาม
• การใช้ (sheme "อะไร")
• ประเภทของประโยคคำถามในภาษาจีน
• การใช้ (tai "มากเกินไป")
• การออกเสียงพยัญชนะและสระ
บทที่ 4
• การถามเชื่อสกุล
• ตัวเลขและจำนวนนับในภาษาจีน
• วันที่ในภาษาจีน
• การออกเสียงสระ
• การเปลี่ยนเสียงของ yi (-)
บทที่ 5
• การถาม ใคร? ที่ไหน?
• การใช้ (shei "ใคร")
• การใช้ (de "ของ")
• การใช้ (nar "ที่ไหน")
• การบอกเดือนและวันที่
• การออกเสียง
2.เรียนภาษาจีนกลางง่ายนิดเดียว เล่ม2 (หนังสือ 1 เล่ม + 3 VideoCD)
บทที่ 6
• การใช้คำว่า ทั้งหมด, ล้วน, เคย, อยากจะ, คิดว่า, คิดถึง
• การวางคำกริยาช่วยในภาษาจีน
• สรุปเสียงพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้าย
• คำศัพท์เกี่ยวกับประเทศต่างๆ
บทที่ 7
• การใช้คำว่า กี่, เท่าไหร่, ดีไหม
• การบอกปี เดือน วัน ในภาษาจีน
• การถามอายุ
• สรุปเสียงสระเดี่ยว
• คำศัพท์เกี่ยวกับวัน เดือน ปี
บทที่ 8
• การบอกเวลาในภาษาจีน
• ตำแหน่งคำบอกเวลาในประโยคและการระบุเวลา
• สรุปสระผสมสองเสียงและสามเสียง
• คำศัพท์เกี่ยวกับเวลา
บทที่ 9
• ประโยคที่มีคำกริยามากกว่า 1 ตัว
• คำลักษณะนาม
• การใช้คำนามขยายคำนาม
• คำศัพท์เกี่ยวกับอาหาร
บทที่ 10
• การถามราคาสินค้า
• ระบบเงินในภาษาจีน
• คำศัพท์เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องเขียน
3.เรียนภาษาจีนกลางง่ายนิดเดียว เล่ม3 (หนังสือ 1 เล่ม + 3 VideoCD)
บทที่ 11
• การใช้คำว่า (le meiyou "หรือยัง") และ (le ma? "หรือยัง")
• คำว่า (bijiao "เปรียบเทียบ" หรือ "ค่อนข้าง")
• คำว่า (xian ในความหมายว่า "ก่อน")
• คำว่า (duo "ทำ...ให้มากๆ, "ทำ...หน่อย"")
• สำนวนคำว่า (tingsuo "ได้ยินมาว่า")
บทที่ 12
• หน้าที่และความหมายของ (gang "เพิ่ง") และ (gangcai "เพิ่ง")
• การใช้คำว่า (kuai yao...le "ใกล้จะ...แล้ว")
• คำว่า (jiu ในความหมาย "ภายในเวลาอันสั้นมาก")
• รูปประโยค, (chu le... yiwai, hai "นอกจาก...แล้ว", "ยัง...ด้วย")
• คำอุทาน (zaogao! "แย่แล้ว") และ (zenme ban? "จะทำอย่างไรดี")
บทที่ 13
• การใช้กริยาตัวเดียวกัน ซ้อนกัน 2 ตัว เช่น (kankan "ดูหน่อย")
• รูปประโยค (yidianr ye bu "ไม่...ซักนิดเดียว")
• การใช้คำว่า (you ที่ใช้ในกรณีที่เป็นคำวิเศษณ์)
• การใช้คำว่า (gei "ให้")
• คำว่า (zhu "เงินสกุลบาท")
• การใช้คำว่า (tai คำวิเศษณ์ในความหมาย ระดับที่สูงมาก)
บทที่ 14
• การใช้ (bi เป็นคำบุพบท ในการเปรียบเทียบ)
• รูปประโยค (budan... erqie "ไม่เพียง...ยัง...อีกด้วย")
• การใช้คำว่า (zui "ที่สุด")
• รูปประโยค (dui...lai shuo "สำหรับ...")
• คำอุทาน (Zhen de ma? "จริงเหรอ")
• คำว่า (qi shi "จริงๆ แล้ว")
บทที่ 15
• รูปประโยค (yue lai yue "ยิ่งมายิ่ง..., นับวันยิ่ง....") กับ (yue... yue... "ยิ่ง...ยิ่ง...")
• สิ่งของ, คน + + สถานที่ / สถานที่ + + สิ่งของ, คน
• การใช้ (de ทำหน้าที่เป็นคำช่วย อยู่หลังคำกริยาหรือคำขยาย)
• รูปประโยค A, B (A gen, B yiyang "อะไร, ใครเหมือนกับอะไร, ใคร")
• การใช้ (pingchang "ธรรมดา", "โดยทั่วไป") กับ (changchang "บ่อยๆ") และ (mashang "ทันทีทันใด")
4.เรียนภาษาจีนกลางง่ายนิดเดียว เล่ม4 (หนังสือ 1 เล่ม + 3 VideoCD)
บทที่ 16
• การใช้คำว่า (cong lai "มาจาก")
• การใช้คำว่า กรณีอ่านว่า "de" และ กรณีอ่านว่า "di"
• การใช้คำว่า (yao shi jiu "ถ้า...ก็...")
• การใช้คำว่า (yihou "หลังจาก...")
• การใช้คำว่า (zhuancheng "เดินทางเป็นกรณีพิเศษพิเศษเฉพาะ")
• การใช้คำว่า (guijiang"ชมเกินไป")
บทที่ 17
• การใช้คำว่า (shenme...a,...a ในความหมายแสดงว่า "ยกขึ้นมากล่าวเป็นเพียงส่วนหนึ่ง")
• การใช้คำว่า (ji...you "ทั้ง...ทั้ง...")
• การใช้คำว่า (ni ในความหมาย "เลี่ยน" และ "เบื่อ เบื่อหน่าย เซ็ง")
• การใช้คำว่า (de liao 1. ในประโยคถามย้อน หรือปฏิเสธ และ 2. ประกอบกั้บคำว่า เป็น 3. ใช้หลังกริยา แสดงว่ากริยานั้นทำได้)
• การใช้คำว่า (zhenghao "พอดี ประจวบเหมาะ ได้โอกาสพอดี")
บทที่ 18
• การใช้คำว่า (budan... erqie... "ไม่เพียงแต่... หากยัง...")
• การใช้คำว่า (...shenme de ในความหมายแสดงว่า ประเภทนั้นๆ หรืออะไรทำนองนั้น)
• การใช้คำว่า (buru "สู้ไม่ได้")
• การใช้คำว่า (...ba, ...;...ba, ... ใช้แสดงถึงการชะงักงัน)
• การใช้คำว่า (qianwan "จง", "จักต้อง")
• การใช้คำว่า (geng คำวิเศษณ์ หมายถึง "ยิ่ง", "ยิ่งขึ้น")
• การใช้คำว่า (yi jing กรณีเป็นศัพท์วิเศษณ์ "แล้ว")
บทที่ 19
• การใช้คำว่า (bei "ถูก")
• การใช้คำว่า (yiwei "เข้าใจว่า", "ถือว่า", "นึกว่า")
• การใช้คำว่า (หมายถึง "สุดที่จะบรรยาย ไม่อาจบรรยายออกมาได้")
• การใช้คำว่า (daomei "ซวย", "เคราะห์ร้าย", "โชคร้าย")
• การใช้คำว่า (zhen bu xiang hua "ไม่ถูกต้องจริงๆ หรือ แย่จริงๆ เลย")
บทที่ 20
• การใช้คำว่า (lian... ye... "แม้...ก็...")
• การใช้คำว่า (yaoshi...de hua "ถ้าหากว่า", "ถ้าหาก")
• การใช้คำว่า (kongpq กรณีศัพท์วิเศษณ์ "เกรงว่า", "สงสัยว่า", "กลัวว่า")
• การใช้คำว่า (...duo le "เปรียบเทียบแล้ว...ดีขึ้นทีเดียว")
• การใช้คำว่า (bu liao ใช้อยู่หลังกริยา แปลว่า "...ไม่ได้")
• การใช้คำว่า (wei de shi "เพื่อ...โดยเฉพาะ")
• การใช้คำว่า (qing ni duo baozhong "ขอให้รักษาสุขภาพตัวเองให้ดีด้วย")
5.เรียนภาษาจีนกลางง่ายนิดเดียว เล่ม5 (หนังสือ 1 เล่ม + 3 VideoCD)
รวมสุดยอดสื่อการสอนภาษาจีนกลาง หนังสือ 5 เล่ม 15 VCDs
บทที่ 21
• การใช้คำว่า "shi" กรณีหมายความว่า "แต่"
• การใช้คำว่า (zhi yao...jiu "ขอเพียงแต่..." "ขอเพียงแต่...เท่านั้น")
• การใช้คำว่า (chuci yiwai "นอกจากนี้แล้ว")
• การใช้คำว่า (kanyangzi "ดูเหมือนว่า")
• การใช้คำว่า (raner "แต่")
• การใช้คำว่า (na hai yong shuo "แน่นอนอยู่แล้ว")
บทที่ 22
• การใช้คำว่า (chule...haishi... ตามด้วยคำนาม คุณศัพท์ หรือกริยาที่เป็นคำเดียวกัน)
• การใช้คำว่า (you... de, you...de; "มีทั้ง ...และ...")
• การใช้คำว่า (hule...jiushi... "ถ้าไม่เป็นเช่นนี้ ก็เป็นเช่นนั้น")
• การใช้คำว่า (qishi "จริงๆ แล้ว")
• การใช้คำว่า (chabuduo "พอๆ กัน" "ใกล้เคียงกัน")
• การใช้คำว่า (quan
1. ในความหมายว่า "สมบูรณ์" "ครบถ้วน" "พร้อม"
2. ในความหมายว่า "ทั้งหมด" "ทั้งมวล"
3. ในความหมายว่า "หมด" "ทั้งหมด" "โดยสิ้นเชิง")
บทที่ 23
• การใช้คำว่า (suiran...danshi... "ถึงแม้...แต่...")
• การใช้คำว่า (bushi...ershi... "ไม่ใช่...แต่...")
• การใช้คำว่า (jihu
1. ในความหมายว่า "ขาดอยู่นิดเดียว" "เกือบจะ"
2. มีความหมายว่า "จวน" "เกือบ")
• การใช้คำว่า (chule
1. ในความหมายว่า "ไม่นับรวมอยู่ในนั้น", "นอกจาก"
2. ใช้ร่วมกับ)
• การใช้คำว่า (shuoqilai "ว่าไปแล้ว")
• การใช้คำว่า (daoshihou "ถึงตอนนั้น ถึงเวลานั้น")
บทที่ 24
• การใช้คำว่า (ruguo...jiu... "ถ้า...ก็...")
• การใช้คำว่า (bu de bu "จำเป็นต้อง...", "ไม่...ไม่ได้")
• การใช้คำว่า (dan/danshi "แต่", "แต่ทว่า")
• การใช้คำว่า (yinci "ดังนั้น", "เพราะเหตุนั้น")
• การใช้คำว่า (buran/fouze "มิฉะนั้นแล้ว", "ไม่อย่างนั้น")
• การใช้คำว่า (jiaru "ถ้าหาก", "ถ้าหากว่า", "ถ้า")
บทที่ 25
• การใช้คำว่า (dangzhong "ในบรรดา...")
• การใช้คำว่า (zhidao "จนกระทั่งถึง")
• การใช้คำว่า (yiji "รวมทั้ง" กรณีเป็นคำสันธาน)
• การใช้คำว่า (zhe เป็นศัพท์เสริม ใช้ในกรณี
- แสดงการต่อเนื่องของการกระทำ ใช้หลังกริยา
- แสดงการตื่อเนื่องของสภาพ
- ใช้หลังคำกริยาหรือหลังคำคุณศัพท์ เป็นการเสริน้ำเสียงในการออกคำสั่งหรือการกำชับ
- เสริมหลังคำกริยาบางคำซึ่งทำให้กลายเป็นคำบุพบท)
• การใช้คำว่า (renshan renhai "ผู้คนล้นหลาม")
• การใช้คำว่า (jui suan shi "ก็ถือว่า", "ก็ถือเป็น")
• การใช้คำว่า (huantian xidi "ลิงโลด")
0 ความคิดเห็น :